ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

West side line (NYCRR)

สายเวสไลน์ (อังกฤษ: West Side Line) หรือที่ถูกเรียกว่า West Side Freight Line นั้นเป็นรางรถไฟสายตะวันออกของมหานครนิวยอร์กในเขตแมนแฮตตัน ทางด้านเหนือของ Penn Station จาก 34th Street สายรถไฟสายนี้ถูกใช้โดยเหล่าผู้โดยสารของ Amtrak ที่มุ่งหน้าไปทางเหนือผ่านแอลบานี (Albany) ไปยังโตรอนโต (Toronto) เมืองมอนทรีเอล (Montreal) และเมืองชิคาโก (Chicago) ทางตอนใต้ของ Penn Station นั้น จะมีเซคชั่นของสายทางยกระดับความยาว 1.45 ไมล์ (ที่เป็นที่รู้จักกันในนามของ ไฮไลน the High Line) เซคชั่นส่วนนี้ได้ถูกทิ้งร้างไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980

ทางสายเวสไซด์นั้นถูกสร้างขึ้นาครั้งแรกโดยทางรถไฟแห่งแม่น้ำฮัดสัน (Hudson River Railroad) เป็นทางรถไฟทั้งหมดสี่สิบไมล์เริ่มจากพีคสกิล (Peekskill) เมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1894 ยาวมาถึงพูกิบซี่ (Poughkeepsie) ในปลายปีนั้น และถูกต่อเติมไปยังอัลบานี (Albany)ในปี ค.ศ. 1851 โดยมีสถานีปลายทางอยุ่ที่แยกแชมเบอร์ส (Chambers) และฮัดสันสตรีท (Hudson Streets) โดยที่รางรถไฟนั้นวางอยู่ตามฮัดสัน ริมคลอง และ เวสสตรีท ถึง เทนต์อะเวนิว (Tenth Avenue) ซึ้งจะส่งไปยังสถานีในเมืองที่ 34th Street นอกเหนือจากส่วนของสิทธิแห่งการใช้ทาง รางรถไฟที่เหลือถูกวางอยุ่ในระดับเดียวกับถนน และ จาก กฎหมายข้อบังคับต่างๆ ระบุว่าไม่ให้ใช้หัวจักร แต่จะให้ใช้หัวจักรแบบเงียบ (dummy engine) โดยกล่าวเอาไวในปี ค.ศ. 1851 ว่าเครื่องยนตร์ชนิดนี้จะสามารจัดเก็บและทำลายควันของมันเอง ระหว่างที่ผ่านเข้าไปในเมืองนั้น เหล่าขบวนรถจะถูกนำทางด้วยชายบนหลังม้า ที่จะให้สัญญาณการผ่านโดยเป่าฮอร์น

ที่ถนน 34th Street สิทธิการใช้ทางนั้นจะโค้างเข้าไปยัง Eleventh Avenue แล้วหัวจักรแบบเงียบจะถูกปลดออกมา แล้วเปลี่ยนเป็นหัวจักรรถไฟไปจนสุด 6oth Street รางรถไฟนั้นจะถูกวางอยู่ในระดับเดียวกับถนนในช่วงเวลาก่อนที่โครงสร้างถนนอิสตระต่างริเริ่มขึ้น ทางรถไฟสายแรกตัดขึ้นข้ามคลอง Spuyten Duyvil Creek บนสะพานชัก ตรงที่มีการอัปปางอุบัติเหตุร้ายแรง ในวันที่ 13 มกราคม ค.ศ. 1882 ตอนที่แอตแลนติคเอกเพรซหยุดอยุ่บนรางแล้วพลิกคว่ำทำให้เตาและโคมต่างๆ ระเบิดเผาวัสดุประเภทไม้และเครื่องหนังจนทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรง

ในปี ค.ศ. 1867 ศูนย์กลางทางรถไฟแห่งนิวยอร์ก (New York Central Railroad) ได้ถูกรวมเข้ากับ ทางรถไฟแห่งแม่น้ำฮัดสัน โดยนาย Cornelius Vanderbilt แล้วกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในปี ค.ศ. 1869 ในนามของ New York Central and Hudson River Railroad ทางรถไฟสายใหม่นี้ได้รับที่จากบาทหลวงคนเดิมของ St. John’s Park และได้สร้างเป็นที่ขนส่งสินค้าตรงถนนบีชและวาริค (Beach and Varick streets) ที่เปิดขึ้นในปี ค.ศ. 1868 แล้วหลังจากนั้นก้ยกเลิกการให้รางรถไฟที่ไปยังถนนแชมเบอร์ส ในปี ค.ศ. 1871 Spuyten Duyvil and Port Morris Railroad ก็เปิดขึ้นให้บริการ ผู้โดยสารส่วนใหญ่ถูกนำไปส่งใหม่ที่ Grand Central Depot แห่งใหม่ผ่านรางรถไฟเส้นที่วิ่งไปตามชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของแม่น้ำฮาร์เลม (Harlem River) แล้ว รางรถไฟสายนิวยอร์กฮาร์เลมก็แยกตัวออกมาจากระบบศูนย์กลางทางรถไฟของนิวยอร์ก ทางรถไฟสายเดิมที่อยู่ด้านใต้ของ Spuyten Duyvil นั้นยังคงอยู่เพื่อใช้เป็นที่ขนส่งสินค้าไปยังท่าเรือตามชายฝั่งด้านตะวันตกของแมนแฮตตัน

เมื่อเมืองเจริญเติบโตขึ้น ความแออัดในบริเวญฝั่งเวสไซด์ก็แน่นมากขึ้น แต่กะรไรนั้นก็มีการวางแผนเพื่อสร้างทางยกระดับเพิ่มขึ้นมาอีกสาย ให้เป็นทางหลวงยกระดับเวสไลน์ West Side Elevated Highway (ทางยกระดับสายนี้ถูกเรียกตามชื่อเดิมของประทานเขตแมนแฮตตันชื่อJulius Miller ที่เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดนี้) การพัฒนาทางยกระดับนี้เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1925 และได้เริ่มทำอย่างจิงจังเซคชั่นแรกเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1934 การพัฒนาครั้งนี้มีการเพิ่มสายรางรถไฟยกระดับขึ้นมาอีกแปดสายไปยังสถานี St. John's Park Freight Terminal ที่ตั้งอยุ่ห่างจากสถานีเดิมไม่กี่ช่วงตึกจากอันเก่าไปถึงขอบถนนสปริง (Spring Street) จากตรงนี้ก็มีโครงสร้างยกระดับขึ้นเพื่อแบกรับรางรถไฟสายเหนือสองสายบนถนนฝั่งขวาของ Washington Street ทางยกระดับนี้โค้งเข้าไปยังด้านตะวันออกของถนน Tenth Avenue ที่ 14th Street แล้วข้าม Tenth Avenue ที่ 17th Street เพื่อมุ่งหน้าไปยังทางเหนือของฝั่งตะวันตก ตรงจุดได้ของสนามรางรถไฟเพนน์สเตชัน (Penn Station rail yards) นั้น รางรถไฟจะหันไปทางตะวันตกฝั่งเหนือของ 30th Street แล้วหันกลับมาที่ทิศเหนือที่ทิศตะวันออกของทางหลวงสายเวสไลน์ (West Side Highway) สะพานส่วนที่เหนือที่สุดจะตัดผ่าน 34th Street โดยมีการวางแนวอย่างชั่วคราวไปยัง Eleventh Avenueที่ 35th Street ทางยกระดับสายนี้นั้นถูกสร้างตัดผ่านเข้าตึกระดับชั้นที่สองและสามของตึกบางตึกไปตลอดเส้นทางของทางหลวง แต่ทางหลวงในช่วงอื่นๆนั้นก็สร้างขึ้นมาพร้อมกับการปิดด้านข้าง ภายในปี ค.ศ. 1941 รางรถไฟต่างๆตามทาง Eleventh Avenue ถูกผ่านด้วยสายรถไฟที่สร้างขึ้นมาต่ำกว่าสายนี้อีกระดับตรงทางแยก 35th Street วิ่งไปไปตาม Eleventh Avenue ตรงถนน 59th Street แล้วกลับเข้ามารวมกับเส้นรถไฟสายเดิม

จนกระทั่ง ค.ศ. 1930 ทางรถไฟสายนี้แยกเวสไซด์ฝั่งเหนือออกจากแม่น้ำฮัดสัน ในปี 1930 นักก่อสร้างและวางผังเมือง ชื่อ โรเบิร์ตมอสเสส Robert Moses ปิดทางรถไฟสายเหนือของ 72 Street ไปจนถึง่วนบนสุดของแมนแฮตตัน โครงการของเขาถูกเรยีกว่าโครการพัฒนาเวสไซด์ (the West Side Improvement) โครงการนี้มีราคาสูงกว่าโครงการตรงส่วน Hoover Dam สองเท่า เป็นส่วนต่อเติมของ Riverside Park เช่นเดียวกับการริเริ่มสร้างของสวนเฮนรี่ ฮัดสัน (the Henry Hudson Parkway) ทางด้านเหนือของการวางตัวสายรถไฟใหม่นี้ มีแนวสวนเฮนรี่ ฮัดสัน และ สวนริเวอร์ไซด์ สร้างอยู่ทางด้านบนของรางจากทางเหนือของ 72nd Street ไปยังเกลือบๆ 123rd Street โดยที่มีสนาม 72nd Street Yard ขนาดใหญ่บริการเป็นจุดแบ่งระหว่างการวางตัวใหม่ของทางรถไฟสองสาย กับทางรถไฟสี่สายที่กว้างกว่าอยู่ทางด้านบนของสนาม ทางด้านบนของ 123rd Street ทางสายต่างๆ ถูกยกระดับขึ้นมาอยู่ระหว่างแนวสวน เฮนรี่ ฮัดสัน กับ ริเวอร์ไซด์ไดร์ฟ ก่อนที่จะวกกลับลงมายังผิวพื้นแล้วข้ามไปใต้แนวสวนทางทิศตะวันตกริมถนน 159th Street หลังจากนี้มันก็วิ่งไปตามริมฝั่งแม่น้ำฮัดสันจนถึง สะพาน Spuyten Duyvil Bridge ที่เป็นสะพานแขวนข้ามคลองฮาร์เลมชิบ Harlem Ship Canal (Spuyten Duyvil Creek) เพื่อรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งกับรางรถไฟสาย Spuyten Duyvil and Port Morris Railroad นอกเหนือจากนี้ เพื่อเป็นการให้บริการแก่อุตสาหกรรม และท่าเรือในบริเวณ เวสไซด์ส่วนล่าง Lower West Side ทางรถไฟสายนี้ถูกใช้ให้เป็นเส้นทางหลักเพื่อการนำเข้าและส่งเนื้อเข้าไปที่นิวยอร์ก ในส่วนโกดังที่หมู่บ้านเวส เชลซี และเขตบรรจุเนื้อ เช่นเดียวกับให้บริการที่ทำการไปรษณีเจมส์ฟาร์เลย์ (James Farley Post Office) รวมทั้งที่ขนส่งสินค้าเฉพาะบุคคล

เมื่อศูนย์กลางทางรถไฟนิวยอร์ก (New York Central Railroad) ถูกรวมเข้ากับเพนน์เซนทรัล (Penn Central) ในปี ค.ศ. 1968 แล้วรวมเข้ากับคอนเรล (Conrail) ในปี ค.ศ. 1980 โดนอลด์ ทรัมพ์ ได้ที่ตรง 72nd Street Yard ในปี ค.ศ. 1974 แล้วเขาก็สร้าง ทรัมพ์ พาเลส (Trump Place) ขึ้นมาทันที โดยที่ ทรัมพ์ พาเลซได้เป็นโครงการการก่อสร้างที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ที่สุดในเมืองขณะนั้น แล้วโดนัลด์ ทรัพม์ก็ได้บริจาคพื้นที่ 22 เอเคอร์ หรือ 89,000 ตารางเมตร ให้เป็นพื้นที่สนามแก่เมืองในส่วนที่ต่อมาจากส่วนพื้นที่ต่อเติมของ ริเวอร์พาร์คส่วนใต้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406